การออกแบบและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับไข่เค็มโดยเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ

การออกแบบและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับไข่เค็มโดยเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ

คณะผู้จัดทำ              1.นางสาวดลยา กลิ่นบัว   2.นายเนติวัตน์ แต้มกลางวิเชียร

อาจารย์ที่ปรึกษา       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ระพี กาญจนะ

ปี                                  พ.ศ.2561

คำสำคัญ                     เทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD) การออกแบบบรรจุภัณฑ์ไข่เค็ม

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับไข่เค็ม นำปัจจัยนั้นทอออกแบบ และสร้างบรรจุกัณฑ์ต้นแบบสำหรับบรรจุไข่เค็ม ในการดำเนินการวิจัยเป็นการประยุกต์ใช้ทคนิคการแปลงหน้าที่ทางคุณภาพ (Quality FunctionDeployment: QFD) แบบ 2 เฟสกับการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ไข่เค็ม โดยเริ่มจากการศึกษาความต้องการของลูกค้า หลังจากนั้นนำความต้องการเหล่านั้นมาจัดกลุ่มคุณลักษณะเพื่อจัดทำเป็นแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 ชุด จากนั้นได้ทำการประเมินความสำคัญของความต้องการ ซึ่งคะแนนความสำคัญที่ได้จากการประเมิน และความต้องการของลูกค้าจะนำเข้าสู่เมทริกข์ที่ 1 ของ QFD หรือที่เรียกว่าเมทริกซ์การวางแผน (HOQ) จากนั้นจะมีการนำข้อมูลที่ได้จากเมทริกซ์ที่ 1 ไปใช้ในเมทริกซ์ที่ 2 ของ OFD หรือที่เรียกว่าเมทริกซ์การออกแบบ ซึ่งได้คุณลักษณะทางส่วนประกอบและร้อยละความสำคัญมากที่สุด คือ บรรจุภัณฑ์มีความประณีตเรียบร้อย 7.63%, มีเครื่องหมายการรับรองความปลอดภัยต่อผู้บริโภค(อย.) 7.55% และภาพประกอบบนบรรจุภัณฑ์สามารถมองเห็นได้ชัดเจน ดูสวยงาม สะดุดตา 7.42% เมื่อทราบคุณลักษณะของบรรจุภัณฑ์แล้วได้นำคุณลักษณะเหล่านั้นมาทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มได้ทั้งหมด 3 แบบ แล้วนำรายละเอียดของบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบมาสำรวจความพึงพอใจต่อบรรจุภัณฑ์พบว่าลูกค้าเลือก แบบที่ 3 มากที่สุด 53.5% แบบที่ 1 22 596 และแบบที่ 2 20% จึงทำการกำหนดตันแบบของบรรจุภัณฑ์ที่จะสร้างคือแบบที่ 3 นำไปสร้างเป็นบรรจุภัณฑ์ตันแบบ แล้วนำไปเปรียบเทียบกับบรรจุภัณฑ์ข่เค็มอื่นที่อยู่ในท้องตลาด พบว่า เลือกบรรจุภัณฑ์ตันแบบ 66.678 สรุปได้ว่า การออกแบบและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับไข่เค็มโดยเทคนิคการกระจายหน้าที่ เชิงคุณภาพ(QFD) สามารถออกแบบบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มได้ตรงกับความต้องการของลูกค้

Abstract

This study aims to Study of the key factors affecting package design for salted eggs. Bring that factor into the design and create prototype containers for salted egg packaging In conducting this research, it is an application of the 2-phase Quality FunctionDeployment (QFD) technique to the design and development of salted egg packaging. Starting with the study of customer needs After that, those requirements are grouped into features for questionnaires. To collect data from a sample of 300 samples, then the significance of the demand was assessed. Which the significance score obtained from the assessment And the customer needs are imported into the 1st matrix of QFD, known as the planning matrix (HOQ). The data obtained from the 1st matrix is ​​then applied in the second matrix. OFD’s, also known as the design matrix. The most important feature of composition and percentage is that the packaging is neat 7.63%, has a 7.55% consumer safety certification mark and the illustration on the package is clearly visible. 7.42% When the packaging characteristics were known, all three types of salted egg packaging were designed and those characteristics were applied and the details of the packaging were designed to survey packaging satisfaction and found that the customer chose the third type the most. 53.5% type 1 22 596 and type 2 20% were then set a ton of packaging to be built, type 3 was used to create a ton of packaging. Then compared with other salty packaging on the market, it was found that the ton packaging model 66.678 was found. Qualitative (QFD) packaging for salted eggs can be designed to meet customer needs.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *