การศึกษาอิทธิพลความหยาบผิวของดรอว์บีดที่มีผลต่อการลากขึ้นรูปโลหะแผ่น ที่มีรูปทรงไม่สมมาตรโดยการจําลองด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์
คณะผู้จัดทำ 1.นางสาวเพชรรัตน์ฎา โคนันท์ 2.นางสาวรัชณยี อินทศรี 3.นายจิรายุทธ นามพุทธา
อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย ต่อสกุล
ปี พ.ศ.2559
คำสำคัญ ดรอว์บีด, การจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์. กระบวนการลากขึ้นรูป
บทคัดย่อ
เป็นที่ทราบกันดีว่ากระบวนการลากขึ้นรูป มีปัจจัยหลายอย่างด้วยกันที่ส่งผลต่อคุณภาพของ ชิ้นงานเช่น สารหล่อลื่น แรงเสียดทาน สมบัติทางกลของวัสดุ เป็นต้น เหล่านี้ล้วนแล้วเป็นสาเหตุที่ทํา ให้เกิดข้อบกพร่องบนชิ้นงานได้ โดยเฉพาะชิ้นงานที่มีรูปทรงไม่สมมาตร เพื่อให้เกิดความสม่ำเสมอ และความสมบูรณ์ของการลากขึ้นรูปต้องควบคุมการไหลตัวของวัสดุชิ้นงาน การใช้ดรอว์บีดเป็นอีก หนึ่งวิธีที่ถูกนํามาใช้ในการควบคุมการไหลของชิ้นงาน อย่างไรก็ดีการต้านทานการไหลตัวของชิ้นงาน ไม่ได้เกิดจากรูปทรงของดรอว์บีดเพียงอย่างเดียว แต่ยังเกิดจากแรงเสียดทานจากพื้นผิวของดรอว์บีด ด้วยเช่นกัน โดยดรอว์บีดที่มีพื้นผิวตตีางกันส่งผลให้เกิดแรงเสียดทานที่แตกต่างกัน
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการไหลตัวของโลหะแผ่นในกระบวนการลากขึ้นรูปชิ้นงานที่มีรูปทรงไม่ สมมาตร โดยการใช้ดรอว์บีดที่มีความหยาบผิวต่างกัน และทําการจําลองด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ การศึกษานี้ใช้ดรอว์บีดที่มีรูปร่างครึ่งวงกลม โดยกําหนดความหยาบผิว 3 ระดับ คือ 0.152 Ra, 0.963 Ra และ 6.127 Ra วัสดุที่ใช้ในการศึกษาเหล็กรีดเย็นเกรด เกรด JIS : SPCC, SPCD และ SPCE ทําการทดลองภายใต้เงื่อนไขแรงกดชิ้นงาน(blank holder force) 50 เปอร์เซ็นต์ ของแรงที่ ได้จากการคํานวณ
ผลการทดลองพบว่าความหยาบผิวของดรอว์บีดมีผลต่อการไหลตัวของชิ้นงาน ดรอว์บีดที่มี ความหยาบผิวมากส่งผลให้ชิ้นงานมีโอกาสเกิดการฉีกขาด และ เกิดรอยย่นได้มาก ขณะที่ ดรอว์บีดที่ มีความหยาบผิวน้อย เกิดรอยย่นน้อยที่สุด และไม่เกิดการฉีกขาด การจําลองด้วยไฟไนต์เอลิเมนต์และ ผลการทดลองจริง (Experiment) แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการขึ้นรูปโลหะแผ่น ที่มีแนวโน้มของ ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกัน ซึ่งการประยุกต์ใช้ไฟไนต์เอลิเมนต์สามารถทํานายและหาแนวทางแก้ไขการ ไหลตัวของชิ้นงานในการลากขึ้นรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Abstract
It is well known that the dragging process There are many factors that affect the quality of a workpiece, such as lubricant, friction, and mechanical properties of the material, etc. These are all reasons why. Causing defects on the workpiece Especially workpieces that are asymmetrical To achieve consistency And the integrity of the forming process must control the flow of the workpiece material. Using drawbeads is another One method is used to control the flow of the workpiece. However, the resistance to the flow of the workpiece Not just the shape of the drawbead It is also caused by friction from the surface of the drawbead as well, with different surface drawn drawbeads resulting in different friction.
This research aimed to study the shedding of sheet metal in the asymmetrical dragging process by using drawbeads of different surface roughness. And to simulate with finite element method This study used a semicircular drawbeed. 3 grades of surface roughness were defined as 0.152 Ra, 0.963 Ra and 6.127 Ra. Materials used in the study were cold rolled steel grades JIS: SPCC, SPCD and SPCE. ) 50 percent of the force obtained from the calculation.
The results showed that the roughness of the drawbead surface had an effect on the flow of the workpiece. There are drawbeads. The high surface roughness results in the workpiece being more prone to tearing and wrinkling, while the less roughness of the drawbeads is Minimal creases And does not cause tearing Simulation with finite elements and The results of the actual experiment (Experiment) show the behavior of sheet metal forming. That is the trend of Consistent results The application of finite elements can predict and find solutions to the finite element. Efficient flow of the work piece in the form of traction.